วันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551

Ploster

Ploster เป็นสื่อกราฟฟิกชนิดหนึ่ง ใช้เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้ชม เพื่อให้เกิดเจตคติที่ดีต่อเนื้อหาสาระที่ต้องการเผยแพร่
...วัตถุประสงค์การทำโปสเตอร์
...1.Pionearing stage เป็นการบอกรายละเอียดโดยละเอียด เช่น ใช้เมื่อเปิดตัวสินค้า
...2.Comppetitive stage ใช้เพื่อการแข่งขัน หรือ เปรียบเทียบ โดยใช้คำว่า มากกว่า ดีกว่า รวยกว่า
...3.Retiver stage ใช้เพื่อตอกย้ำความจำ เช่น การรใช้ข้อความสั้นๆ เช่น เป็ปซี่ดีที่สุด
...โปสเตอร์ แบ่งออกเป็น 2ประเภท คือ สื่อทางบวก และสื่อทางลบ
...การทำโปสเตอร์ต้องใช้สื่อทางบวกก่อนเสมอ หากใช้ไม่ได้ผลจึงใช้สื่อทางลบเพื่อตอกย้ำ
...เทคนิคการออกแบบโปสเตอร์
...1.การยึดรูปแบบ คือ รูปแบบตัวอักษรภาษาอังกฤษ T,L,I,S,Z
...2.การยึดเนื้อหา แบ่งออกเป็น 5 แบบ คือ
...2.1แบบ Window
...2.2แบบ Circus
...2.3แบบ Frame
...2.4แบบ Waxial
...2.5แบบBrand
...เทคนิคการประดิษฐ์ตัวอักษรหัวเรื่อง
...1.เส้นตรง ใช้กับเนื้อเรื่องที่เกี่ยวกับ ความมั่นคง น่าเกรงขาม ความน่ากลัว
...2.เส้นโค้ง ใช้กับเนื้อเรื่องที่เกี่ยวกับ ความอ่อนหวาน นุ่มนวล นิยมใช้ สีฟ้า+ชมพู
...3.เส้นซิกแซก ใช้กับเนื้อเรื่องที่เกี่ยวกับ ความน่ากลัว น่าหวาดเสียว น่าตื่นเต้น เช่น คำว่า ตาย ระวัง
...4.เส้นปะ ใช้กับเนื้อเรื่องที่เกี่ยวกับ ความลึกลับ ชวนคิด เช่น คำว่า หายตัว อยู่ไหน
...5.เส้นโค้ง คดงอ ใกบเนื้อเรื่องที่เกี่ยวกับ เรื่องตลกขบขัน เป็นกันเอง

วันพุธที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2550

มิติของสี

การใช้สี
สีโทนร้อน = สีแดง สีส้ม สีเหลือง
สีน้ำตาล สีแดง สีส้ม
สีดำ สีน้ำตาล สีแดง
สีโทนเย็น = สีเขียว สีเขียวอ่อน สีเหลือง
สีน้ำเงิน สีเขียว สีเขียวอ่อน
สีดำ สีน้ำเงิน สีเขียวแก่
สีชุดพิเศษ = สีฟ้ากับชมพู่ เรียกว่า tint
สีน้ำเงิน สีม่วง สีแดง

วันพุธที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2550

http://edtech.edu.ku.ac.th./edtech/wbi/index.php?module=study&chapter=1&sub1=1&sub2=1

..ระบบ..


ระบบ (system) คือส่วนรวมทั้งหมดซึ่งประกอบด้วยส่วนย่อยหรือส่งต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กันอาจจะเกิดโดยธรรมชาติ เช่น ร่างกายมนุษย์ซึ่งประกอบด้วยระบบการหายใจ การย่อยอาหาร ฯลฯ โดยแต่ละระบบต่างทำงานของคนแล้วมามีปฏิสัมพันธ์กัน เพื่อให้ร่างกายสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ หรือเป็นสิ่งที่มนุษย์ออกแบบและสร้างสรรค์ขึ้นอย่างมีระเบียบแล้วนำส่งเหล่านั้นมารวมกันเพื่อให้การดำเนินการสามารวบรรลุไปได้ความจุดหมายที่วางไว้ (กิดานันท์ มลิทอง 2543 :74)
กล่าวโดยสรุประบบคือ การรวบรวมส่วนประกอบต่างๆที่มีความสัมพันธ์กันภายในและมีปฏิสัมพันธ์กันโดยส่วนประกอบทั้งหลายนั้นจะร่วมกันทำงานอย่างเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เพื่อให้การดำเนินงานนั้นบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้
วิธีระบบหรือวิถีระบบ (systems Approach) ความหมาย กระบวนการที่ทำให้บรรลุผลสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อผลลัพธ์ที่กหนดซึ่งอยู่บนพื้นฐานหลักการความต้องการเป็นรูปแบบหนึ่งของการแก้ปัญหา เชิงตรรถวิทยา เช่นเดียวกับวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เป็นกระบวนการที่ระบุความต้องการ หรือมีการเลือกปัญหา คำตอบ หรือข้อแก้ไขปัญหาต่างๆ และได้รับการเลือกจากตัวเลือกและวิธีการต่างๆ และใช้มรรควิธีต่างๆ ซึ่งได้รับการปรับใช้แล้วผลลัพธ์ที่ได้จะต้องมีการประเมินผล และการปรับปรุงแก้ไขตามที่กำหนดต่อส่วนต่างๆ ของระบบ ได้รับการดำเนินการจาสามารถบำบัดความต้องการ หรือความจำเป็นได้สั้นเชิง Kaumfan(1987)

วันอังคารที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2550

....เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา...

อาจารย์ผู้สอน
....ทบวงมหาวิทยาลัย (ทบวงมหาวิทยาลัย,2546) นิยามว่า "เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา" เป็นเครื่องมือในการพัฒนาการศึกษา โดยการนำสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ โทรคมนาคม และการจัดแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ มาใช้เพื่อจัดให้การศึกษาที่สามารถผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เอื้ออำนวยให้ผู้เรียนสามารถศึกษาค้นคว้าได้ตามความต้องการ เพื่อให้การเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเกิดขึ้นได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตทั้งด้านการศึกษาสาระความรู้ทางวิชาการ ทางศาสนา และศิลปะ วัฒนธรรม สื่อเทคโนโลยีทางการศึกษาตามความหมายของทบวงมหาวิทยาลัยนั้น ครอบคลุมสื่อวิทยุกระจายเสียง สื่อวิทยุโทรทัศน์ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตโทรสาร โทรศัพท์ และโทรคมนาคมอื่นรวมทั้งแหล่งการเรียนรู้ทั่วไป โดยมุ่งเน้นที่จะส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้เต็มตามศักยภาพ ปราศจากข้อจำกัดด้านโอกาส ถิ่นที่อยู่ ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม

....เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา" ตามความหมายของร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแห่งชาติ หมายถึง การนำสื่อตัวนำ คลื่นความถี่ และโครงสร้างพื้นฐานอื่นๆ ที่จำเป็นต่อการแพร่เสียง ภาพ และการสื่อสารในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ทั้งการศึกษาในระบบการศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การทำนุบำรุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมเพื่อให้การจัดการศึกษาเป็นกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยครอบคลุมสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ โทรคมนาคม สื่อโสตทัศน์ แบบเรียน ตำรา หนังสือทางวิชาการและแหล่งการเรียนรู้หรือเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่นตามที่คณะกรรมการสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแห่งชาติกำหนด

.... แนวคิดของเทคโนโลยีการศึกษาจึงประกอบด้วยส่วนสำคัญ 5 กลุ่ม คือ การออกแบบ(design) การพัฒนา (Development) การใช้(utilization)การจัดการ (management)และการประเมิน(evaluation)ซึ่งแต่ละกลุ่มจะโยงเข้าสู่ศูนย์กลางของทฤษฏีและปฏิบัติดังนั้นเทคโนโลยีการศึกษาจึงเป็นผสมผสานกันระหว่างความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์เป็นการประยุกต์เอาแนวคิดความคิด เทคนิค วิธีการ วัสดุอุปกรณ์ และสิ่งต่างๆ อันสืบเนื่องมาจากเทคโนโลยีมาใช้ในวงการศึกษานั้นเอง
เห็นได้ชัดเจนว่า "เทคโนโลยีการศึกษา" ครอบคลุมความหมายกว้างขวาง ซึ่งในภาษาสากลนั้น คำว่า Educational Technology มีความหมายรวมถึงเทคโนโลยีการสอน(Instructional Technology) เทคโนโลยีการเรียนรู้ (Learning Technology) สื่อการศึกษา (Educational Media) และคำอื่นๆ ที่มีความหมายอย่างเดียวกันเข้าไว้ด้วย แต่คำว่า Educational Technology) และ Instructional Technology ดูจะได้รับการยอมรับมากที่สุด โดยมักจะถูกใช้ในความหมายอย่างเดียว

วันอาทิตย์ที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2550

วันพุธที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2550

เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา


เทคโนโลยี...คือ...วิธีคิดอย่างเป็นระบบ เป็นโครงสร้าง

เทคโนโลยีรากศัทย์ภาษาลาติน TEXERE ประกอบด้วย 1.to weave แปลว่า การสาน การสร้าง

2.construct แปลว่า โครงสร้าง

ภาษากรีก TECHNOLOGIA แปลว่าการทำงานอย่างเป็นระบบ

คนจะเกิดการศึกษาต้องมาจาก "การเรียนรู้"

การเรียนรู้....คือกระบวนการที่ทำให้คนเปลี่ยนพฤติกรรม และความคิดค่อนข้างถาวร พฤติกรรมต้องเกิดจากการฝึกฝน คนสามารถเรียนจากการได้ยิน การสัมผัส การอ่าน การใช้เทคโนโลยี แต่การเรียนรู้จะเกิดจากประสบการณ์ที่ผู้สอนนำเสนอโดยการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

การศึกษาคืออะไร......

ได้มีนักปรัญญาได้ให้คำจำกักความไว้ซึ่งแบ่งเป็น 2 กลุ่ม

1.กลุ่มเสรีนินม เชื่อว่าการศึกษาคือการพัฒนาบุคคลแต่ละคนให้เจริญงอกงาม

2.สังคมนิยม การศึกษาคือสิ่งที่มีอยู่ในสังคม การประพฤติในสังคมอยู่แล้ว เช่น วัฒนธรรม ประเพณี ค่านิยมหรือความเชื่อ

พระบรมราโชวาทของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว "การศึกษาเป็นการช่วยให้บุคคลรู้จักหรือค้นพบการดำเนินชีวิตในทางที่ชอบและเหมาะกับอัตภาพของตนโดนยึกหลัก มัชชิมา ทางสายกลาง"